สารประกอบแอลไคน์ (Alkyne)
ลักษณะโดยทั่วไปของสารประกอบแอลไคน์ สรุปได้ดังนี้
1. มีสูตรโมเลกุลโดยทั่วไป คือ เมื่อ n = จำนวนอะตอมธาตุคาร์บอน เช่น
2. ภายในโมเลกุลเป็น
พันธะโควาเลนต์ ชนิดพันธะสามสารตัวแรก คือ อะเซติลีน
3. เป็นสารประกอบไม่อิ่มตัวเนื่องจากมีพันธะสาม มีสูตรโครงสร้างทั้งโซ่ตรงและโซ่สาขา
4. จะมีไอโซเมอร์เมื่อมีคาร์บอน 4 อะตอมขึ้นไป เช่น มี2 ไอโซเมอร์
การเรียกชื่อแอลไคน์
ก. ระบบ Formriar name เรียกคล้ายกับ alkane แต่ลงท้ายเป็น yne เช่น
ข. ระบบ IUPAC มีหลักการคล้ายกับ alkane คือ
1. เลือกโซ่ที่ยาวที่สุดมีพันธะสาม และพันธะต้องเป็นตำแหน่งคาร์บอนตัวเลขน้อยที่สุด ลงท้าย yne
2. ในกรณีที่สูตรมีทั้งพันธะสองและพันธะสาม ถือว่าพันธะสองสำคัญกว่า นั่นคือ พันธะสองต้องมีตัวเลขน้อยที่สุด การอ่านชื่อให้ตัด e ของ ene ออกเป็น -en-yne
3. ในกรณีที่มีพันธะสามมากกว่า 1 พันธะให้บอกจะนวนพันธะเป็นภาษากรีก เช่น
สมบัติของสารประกอบแอลไคน์
ทางกายภาพ
1. มีทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ แอลไคน์ที่มีอะตอมคาร์บอนน้อยกว่า 1-3 เป็นก๊าซ 4-6 เป็นของเหลว C - 5 อะตอมขึ้นไปเป็นของแข็ง
2. สารตัวแรก acetylene เป็นก๊าชที่มีกลิ่นเหม็น มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ ไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในตัวทำละลายในอินทริยบางชนิดที่เป็นดมเลกุลไม่มีขั้ว เช่นอีเทอร์ เบนซีน คาร์บอนเตตระคลอไรด์
3. มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำและจะสูงขึ้นเมื่อมีมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น และมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงกว่า เอลคีนที่มีพันธะคาร์บอนเท่ากัน เพราะในโมเลกุลมีพันธะสามซึ่งมีพลังงานพันธะสูงกว่า
4. ในกรณีที่เป็นไอโซเมอร์ ไอโซเมอร์ที่เป็นโซ่ตรงจะมีจุดเดือดสูงกว่าโซ่สาขา
ทางเคมี
1. มีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยามากกว่าแอลเคนและแอลคีนเพราะเป็นสารประกอบไม่อิ่มตัว ( มีพันธะสามอย่างน้อย 1 พันธะ )
2.เกิดปฎิกิริยาการรวมตัวหรือรีเอเจนต์ต่าง ๆ ได้ดีกว่าแอลคีน ดังนี้
2.1 เกิดปฏิกิริยารวมตัวกับ (Addition of hydrogen) หรือ Hydrogenation โดยมี Ni หรือ Pd เป็นตัวเร่ง ได้สารประกอบแอลคีน หรือ แอลแคนดังสมการ
2.2 เกิดปฏิกิริยารวมตัวกับธาตุ Halogen ทั้งที่มืดและมีแสง ดังนั้นจึงฟอกจางสีของ ได้ใน เกิดปฏิกิริยาดังสมการ
2.3 เกิดปฏิกิริยารวมตัวกับ HXได้ตามกฏของ Markounikov
2.4 รวมตัวกับน้ำได้อัลดีไฮด์ หรือคีโตน เมื่อมีเป็นตัวเร่ง
3. ฟอกจางสีของ ได้ ดังสมการ
4. สามารถทำปฏิกิริยากับโลหะโซเดียมในแอมโมเนียเหลว ได้สารประกอบอะซีตาดีไฮด์
5. ทำปฏิกิริยากับโลหะหนักใน alcohol ในสภาพกรด
6. เกิด Oxidation หรือเกิดปฏิกิริยาสันดาป (Comleustion) ได้ ให้ความร้อนสูง มีเปลวไฟและเขม่า ซึ่งจะมากกว่า alkane และ alkane เนื่องจากมีอะตอมของ H น้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น